1. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการยกระดับการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนขนาดเล็ก (ระยะที่ 2 : การอบรมเชิงปฏิบัติการ) กิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมสมรรถนะของผู้เรียนเชื่อมโยงหลักเกณฑ์การเลื่อนวิทยฐานะ ว.9 (PA) ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ระบบออนไลน์)
วัตถุประสงค์
1. เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับครูประจำการ บุคลากรทางการศึกษา และศิษย์เก่าตามความต้องการของโรงเรียน
2. เพื่ออบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในโครงการต่าง ๆ
3. เพื่ออบรมให้ความรู้และเสริมทักษะ (re-skill up-skill and new-skill) ให้กับครูประจำการ บุคลากรทางการศึกษา และศิษย์เก่า นำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
4. เพื่อแก้ไขปัญหาการจัดการศึกษาและคุณภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กสังกัด สพฐ.
โดยระยะที่ 2 นี้ เป็นการอบรมเชิงปฏิบัติการผ่านระบบออนไลน์ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2565 ระหว่างเวลา 08.30 – 16.30 น. ณ อาคารปฏิบัติการครุศาสตร์และศูนย์สาธิตการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัย
ราชภัฏนครปฐม โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการในครั้งนี้ 875 คน
ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ/กิจกรรม
1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความคิดเห็น/พึงพอใจต่อวิทยากรอยู่ในระดับมากที่สุด มีความรู้ความเข้าใจอยู่ในระดับมาก
2. การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุด และมีความคิดเห็น/พึงพอใจด้านสถานที่/ระยะเวลา/การประชาสัมพันธ์/การอำนวยความสะดวกอยู่ในระดับมากที่สุด ภาพรวมผลสัมฤทธิ์ของโครงการบรรลุ วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
หลักฐานที่เกี่ยวข้อง / ภาพประกอบ
2. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการยกระดับการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนขนาดเล็ก
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการยกระดับการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนขนาดเล็ก ประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้
1. กิจกรรมการใช้สื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล การจัดทำคลิปวีดิทัศน์ออกแบบสื่อดิจิทัลสำหรับครู/ผู้บริหาร/ศึกษานิเทศก์ วันที่ 20-21 กุมภาพันธ์ 2566
2. กิจกรรมการใช้กระบวนการ PLC สู่การวิจัยและนวัตกรรมทางการศึกษา วันที่ 22-23 กุมภาพันธ์ 2566
3. กิจกรรมการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์การประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา Active Learning สาระวิชาสังคมศึกษา วันที่ 13-14 มีนาคม 2566
4. กิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและสื่อแอปพลิเคชันสำหรับเด็กปฐมวัย รุ่นที่ 1 วันที่ 13-14 มีนาคม 2566
5. กิจกรรมการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์การประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา Active Learning สาระวิชาภาษาไทย วันที่ 20-21 มีนาคม 2566
วัตถุประสงค์
1. เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับครูประจำการ บุคลากรทางการศึกษา และศิษย์เก่าตามความต้องการของโรงเรียน
2. เพื่ออบรมให้ความรู้ความเข้าใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในโครงการต่าง ๆ
3. เพื่ออบรมให้ความรู้และเสริมทักษะ (re-skill up-skill and new-skill) ให้กับครูประจำการ บุคลากรทางการศึกษา และศิษย์เก่า นำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
4. เพื่อแก้ไขปัญหาการจัดการศึกษาและคุณภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กสังกัด สพฐ. กลุ่มเป้าหมายของโครงการ
1. โรงเรียนในเขตพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัย ประกอบด้วย สุพรรณบุรี นครปฐม และสมุทรสาคร
2. ครูประจำการ บุคลากรทางการศึกษา และศิษย์เก่า
ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ/กิจกรรม
1. กิจกรรมการใช้สื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล การจัดทำคลิปวีดิทัศน์ออกแบบสื่อดิจิทัลสำหรับครู/ผู้บริหาร/ศึกษานิเทศก์ วันที่ 20-21 กุมภาพันธ์ 2566 ผลการประเมินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด
2. กิจกรรมการใช้กระบวนการ PLC สู่การวิจัยและนวัตกรรมทางการศึกษา วันที่ 22-23 กุมภาพันธ์ 2566 ผลการประเมินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด
3. กิจกรรมการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์การประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา Active Learning สาระวิชาสังคมศึกษา วันที่ 13-14 มีนาคม 2566 ผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด
4. กิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและสื่อแอปพลิเคชันสำหรับเด็กปฐมวัย รุ่นที่ 1 วันที่ 13-14 มีนาคม 2566 ผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด
5. กิจกรรมการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์การประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา Active Learning สาระวิชาภาษาไทย วันที่ 20-21 มีนาคม 2566 ผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด
หลักฐานที่เกี่ยวข้อง / ภาพประกอบ
1. กิจกรรมการใช้สื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล การจัดทำคลิปวีดิทัศน์ออกแบบสื่อดิจิทัลสำหรับครู/ผู้บริหาร/ศึกษานิเทศก์ วันที่ 20-21 กุมภาพันธ์ 2566
2. กิจกรรมการใช้กระบวนการ PLC สู่การวิจัยและนวัตกรรมทางการศึกษา วันที่ 22-23 กุมภาพันธ์ 2566
3. กิจกรรมการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์การประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา Active Learning สาระวิชาสังคมศึกษา
4. กิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและสื่อแอปพลิเคชันสำหรับเด็กปฐมวัย รุ่นที่ 1 วันที่ 13-14 มีนาคม 2566
5. กิจกรรมการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์การประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา Active Learning สาระวิชาภาษาไทย วันที่ 20-21 มีนาคม 2566
3. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการยกระดับการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนขนาดเล็ก (การอบรมเชิงปฏิบัติการ) กิจกรรมการแนะแนวสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ตามคู่มือ สพฐ.)
วัตถุประสงค์
1. เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับครูประจำการ บุคลากรทางการศึกษา และศิษย์เก่า ตามความต้องการของโรงเรียน
2. เพื่ออบรมให้ความรู้ความเข้าใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในโครงการต่าง ๆ
3. เพื่ออบรมให้ความรู้และเสริมทักษะ (re-skill up-skill and new-skill) ให้กับครูประจำการ บุคลากรทางการศึกษา และศิษย์เก่า นำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
4. เพื่อแก้ไขปัญหาการจัดการศึกษาและคุณภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กสังกัด สพฐ.
กลุ่มเป้าหมายของโครงการ
1. โรงเรียนในเขตพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ประกอบด้วย สุพรรณบุรี นครปฐม และสมุทรสาคร
2. ครูประจำการ บุคลากรทางการศึกษา และศิษย์เก่า
ซึ่งจัดโครงการ ณ ห้องประชุมชั้น 4 อาคารปฏิบัติการคณะครุศาสตร์และศูนย์สาธิตการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม วันที่ 12-13 มิถุนายน 2566
หลักฐานที่เกี่ยวข้อง / ภาพประกอบ
4. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการยกระดับการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนขนาดเล็ก
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการยกระดับการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนขนาดเล็ก (กิจกรรม การอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้) โดยประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้
1. กิจกรรมการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง การใช้กระบวนการ PLC สู่การวิจัยและนวัตกรรมทางการศึกษา วันที่ 19 กรกฎาคม 2566
2. กิจกรรมการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้สื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล การจัดทำคลิปวีดิทัศน์ออกแบบสื่อดิจิทัลสำหรับครู/ผู้บริหาร/ศึกษานิเทศก์ วันที่ 20 กรกฎาคม 2566
3. กิจกรรมการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและสื่อแอปพลิเคชันสำหรับเด็กปฐมวัย วันที่ 24 กรกฎาคม 2566
4. กิจกรรมการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้การแนะแนวสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ตามคู่มือ สพฐ.) วันที่ 28 สิงหาคม 2566
วัตถุประสงค์
1. เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับครูประจำการ บุคลากรทางการศึกษา และศิษย์เก่า ตามความต้องการของโรงเรียน
2. เพื่ออบรมให้ความรู้ความเข้าใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในโครงการต่าง ๆ
3. เพื่ออบรมให้ความรู้และเสริมทักษะ (re-skill up-skill and new-skill) ให้กับครูประจำการ บุคลากรทางการศึกษา และศิษย์เก่า นำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
4. เพื่อแก้ไขปัญหาการจัดการศึกษาและคุณภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กสังกัด สพฐ.
กลุ่มเป้าหมายของโครงการ
1. โรงเรียนในเขตพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ประกอบด้วย สุพรรณบุรี นครปฐม และสมุทรสาคร
2. ครูประจำการ บุคลากรทางการศึกษา และศิษย์เก่า
ซึ่งจัดโครงการ ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคารปฏิบัติการคณะครุศาสตร์และศูนย์สาธิตการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม วันที่ 19, 20, 24 กรกฎาคม 2566 และ 28 สิงหาคม 2566
ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ/กิจกรรม
1. กิจกรรมการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง การใช้กระบวนการ PLC สู่การวิจัยและนวัตกรรมทางการศึกษา วันที่ 19 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วม จำนวน 39 คน ผลการประเมินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด
2. กิจกรรมการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้สื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล การจัดทำคลิปวีดิทัศน์ออกแบบสื่อดิจิทัลสำหรับครู/ผู้บริหาร/ศึกษานิเทศก์ วันที่ 20 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วม 43 คน ผลการประเมินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด
3. กิจกรรมการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและสื่อแอปพลิเคชันสำหรับเด็กปฐมวัย วันที่ 24 กรกฎาคม 2566 มีผู้เข้าร่วม 38 คน ผลการประเมินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด
4. กิจกรรมการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้การแนะแนวสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ตามคู่มือ สพฐ.) วันที่ 28 สิงหาคม 2566 มีผู้เข้าร่วม 37 คน ผลการประเมินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด
หลักฐานที่เกี่ยวข้อง / ภาพประกอบ
1. กิจกรรมการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง การใช้กระบวนการ PLC สู่การวิจัยและนวัตกรรมทางการศึกษา วันที่ 19 กรกฎาคม 2566
2. กิจกรรมการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้สื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล การจัดทำคลิปวีดิทัศน์ออกแบบสื่อดิจิทัลสำหรับครู/ผู้บริหาร/ศึกษานิเทศก์ วันที่ 20 กรกฎาคม 2566
3. กิจกรรมการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและสื่อแอปพลิเคชันสำหรับเด็กปฐมวัย วันที่ 24 กรกฎาคม 2566
4. กิจกรรมการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้การแนะแนวสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ตามคู่มือ สพฐ.) วันที่ 28 สิงหาคม 2566
5. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมสมรรถนะของผู้เรียนเชื่อมโยงหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษาตำแหน่งผู้บริหาร (ว.10/2564) และตำแหน่งศึกษานิเทศก์ (ว.11/2564)
ผู้รับผิดชอบ : คณะครุศาสตร์
วันที่จัด :วันที่ 23 ธันวาคม 2565
สถานที่จัด : ห้องประชุมชั้น 1 อาคารสิริวรปัญญา
วัตถุประสงค์ :
1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนใหผู้้บริหารสถานศึกษา รองผู้ริหารสถานศึกษา และ ศึกษานิเทศก์ มีความรู้ ความเข้าใจ หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในระดับผู้บริหาร รองผู้บริหารและ ศึกษานิเทศก์
2. เพื่ออบรมให้ความรู้และเสริมทักษะ (re skill up skill and new-skill ให้กับผู้บริหาร
สถานศึกษารองผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ บุคลากรทางการศึกษาและศิษย์เก่า นำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ/กิจกรรม
ผู้เข้าร่วมโครงการมีจำนวน 170 คน ผลการประเมินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด บรรลุวัตถุประสงค์โครงการ
หลักฐานที่เกี่ยวข้อง / ภาพประกอบ
6. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการยกระดับการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนขนาดเล็ก (ระยะที่ 2 : การอบรมเชิงปฏิบัติการ) ผ่านระบบออนไลน (รุนที่ 2)
ผู้รับผิดชอบ : คณะครุศาสตร์
วันที่จัด : 15 มกราคม 2566
สถานที่จัด : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
วัตถุประสงค์ :
เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับครูประจำการ บุคลกรทางการศึกษา และศิษย์เก่าตาม ความต้องการของโรงเรียน ให้ความรู้ความเข้าใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในโครงการต่าง ๆ ให้ความรู้และเสริมทักษะ (re-skill up-skill and new-skill) ให้กับครูประจำการ บุคลากรทางการศึกษา และศิษย์เก่า นำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน และแก้ไขปัญหาการจัดการศึกษาและคุณภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัด สพฐ.
ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ/กิจกรรม
ผู้เข้าร่วมโครงการมีจำนวน 789 คน ผลการประเมินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการยกระดับการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนขนาดเล็ก (ระยะที่ 2 : การอบรมเชิงปฏิบัติการ) ผ่านระบบออนไลน์ อยู่ในระดับมากที่สุด
หลักฐานที่เกี่ยวข้อง / ภาพประกอบ
7. การศึกษาสำหรับ SDGs: ในชุมชนที่กว้างขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการให้การศึกษาเพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน โดยบูรณการการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับนักศึกษาและประชาชนทั่วไป ซึ่งมหาวิทยาลัยได้เปิดโครงการการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน (กศ.พป.) เปิดหลักสูตรประกาศนียบัตรการดูแลผู้สูงอายุ โครงการเพิ่มศักยภาพครูให้มีสมรรถนะครูยุคใหม่สำหรับการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 บทเรียนออนไลน์ต่างๆ เป็นต้น เพื่อสนับสนุนให้เกิดการศึกษา เรียนรู้สำหรับบุคคลทั่วไป
1. การศึกษาเพื่อปวงชน (กศ.พป.)
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมเปิดโครงการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน (กศ.พป.) ในปี พ.ศ. 2540 จนถึงปัจจุบัน โดยมีสาขาวิชาที่เปิดสอนในปัจจุบันทั้งหมด 11 สาขาวิชา ได้แก่
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1. สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
2. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
3. สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
4. สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน
5. สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
6. สาขาวิชานิติศาสตร์
คณะวิทยาการจัดการ
7. สาขาวิชาการจัดการทั่วไป
8. สาขาวิชาการตลาด
9. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
10. สาขาวิชาการบัญชี
11.สาขาวิชานิเทศศาสตร์ (วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์)
การจัดการศึกษาเพื่อปวงชน เป็นการจัดการศึกษาที่เหมาะสำหรับผู้ที่ทำงานแล้ว และมีวุฒิต่ำกว่าปริญญาตรี มาเรียนต่อยอด เป็นทางเลือกให้ผู้ที่พลาดโอกาสทางการศึกษาในระบบ หรือผู้ที่มีภาระการทำงานแล้ว ได้เข้ามาศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี เป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
2. NPRU Online Courses
https://online-courses.npru.ac.th/
มหาวิทยาลัยมีนโยบายผลักดันและสนับสนุนการจัดทำบทเรียนออนไลน์ โดยการให้ทุนสนับสนุนการจัดทำบทเรียนออนไลน์ บนระบบ NPRU Online Courses เพื่อให้นักศึกษา และบุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างสะดวกและสามารถใช้เพื่อการเรียนได้ตลอดชีวิต
3. หลักสูตรประกาศนียบัตรการดูแลผู้สูงอายุ
คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม เล็งเห็นความสำคัญในการดูแลผู้สูงอายุภายใต้การดูแลแบบพึ่งตนเองและลดภาวะการพึ่งพาผู้อื่นตามศักยภาพที่ลดลงในระยะยาว จึงพัฒนาหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นหลักสูตรระยะสั้นใช้เวลาเรียน 420 ชั่วโมง (3 เดือน) เพื่อพัฒนาส่งเสริมผู้ดูแลให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การเรียนรู้จากสถานการณ์จำลอง และสถานการณ์จริง จนผู้อบรมมีความรู้และสามารถนำความรู้สู่การปฏิบัติจริง ทั้งนี้เพื่อสร้างสังคมกตัญญูทดแทนคุณผู้สูงอายุสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีตราบจนวาระท้ายแห่งชีวิต โดยวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ดังนี้
เพื่อให้ผู้สำเร็จการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรการดูแลผู้สูงอายุ
1. มีความรู้ ความสามารถ และทักษะเบื้องต้นในการดูแลสุขภาพอนามัยของผู้สูงอายุในครอบครัว ชุมชน และสถานบริการสุขภาพได้
2. มีเจตคติที่ดีต่อผู้สูงอายุ มีจิตบริการ และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี เพื่อการดูแลผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถประสานงานกับบุคคล และหน่วยงาน เพื่อขอความช่วยเหลือด้านการดูแลผู้สูงอายุ
4. มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อหน้าที่ มีระเบียบวินัย และซื่อสัตย์
5. มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในสิทธิของผู้สูงอายุและบุคคล