1. นโยบายการจัดหาอย่างมีจริยธรรม
ตัวชี้วัดที่ 12.2 มาตรการการดำเนินงาน
ตัวชี้วัดย่อย 12.2.1 นโยบายการจัดหาอย่างมีจริยธรรม
1. ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ทรงมีพระราชปณิธานตามพระปฐมบรมราชโองการในการ “สืบสาน รักษา ต่อยอด” งานต่อจากพระราชบิดา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม มุ่งผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติรองรับการพัฒนาประเทศและเป็นพลังปัญญาของท้องถิ่น
เร่งดำเนินการตามพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มหาวิทยาลัยฯ จึงได้ร่วมกับนักเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 28 และมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ออกแบบและปรับปรุงพื้นที่ของมหาวิทยาลัยฯ โดยจำลองแนวคิด โคก หนอง นา โมเดล ภายในพื้นที่กว่า 16 ไร่ ในระยะที่ 1 ให้เป็นศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสวันคล้ายวันเฉลิมพระชนมพรรษา 28 กรกฎาคม 2562 โดยศูนย์การเรียนรู้ฯ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และฝึกศาสตร์พระราชาโดยน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ตามภูมิสังคมของภาคตะวันตก ให้กับนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป และเป็นแหล่งรวบรวมองค์ความรู้และอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นตามแนวทางพุทธกสิกรรมธรรมชาติ ให้นำไปปรับใช้เป็นพื้นฐานและเป็นแนวทางในการดำรงชีวิตที่มั่นคงต่อไป
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงสร้างขึ้นบนพื้นที่บริเวณศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเกษตรชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ณ ตำบลหนองปากโลง อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ซึ่งเดิมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมมีพื้นที่เดิมอยู่ 17 ไร่ 1 งาน 24 ตารางวา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 และซื้อพื้นที่ติดกันเพิ่มเติมจากเกษตรกรไร่อ้อย ซึ่งมีความประสงค์ในการขายพื้นที่ให้กับมหาวิทยาลัย เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ด้านการศึกษา โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมได้ซื้อไว้เมื่อ 14 ธันวาคม 2559 อีก 29 ไร่ 56 ตารางวา รวมเนื้อที่ทั้งหมด 46 ไร่ 1 งาน 80 ตารางวา ขณะนั้น มีแผนงานจะปรับให้เป็นพื้นที่การเรียนรู้และฝึกปฏิบัติการทางด้านการเกษตรและการวิจัย ห่างจากที่ตั้งของมหาวิทยาลัยฯ ประมาณ 3 กิโลเมตร
ได้จัดพิธีเปิดศูนย์การเรียนรู้ฯ ในวันที่ 25 กรกฎาคม 2562 โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจากทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐและเอกชนในพื้นที่จังหวัดนครปฐม ได้แก่ นักเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 28 มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ จิตอาสา 904 วปร. ผู้บริหาร คณาจารย์ นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม นักเรียนจากโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม และโรงเรียนในพื้นที่ ทหาร ชาวบ้าน และประชาชนจิตอาสา รวมประมาณ 1,700 คน ร่วมบำเพ็ญประโยชน์ โดยได้จัดกิจกรรมฐานการเรียนรู้จำนวน 7 ฐาน ให้กับผู้ที่เข้าร่วมทำกิจกรรม ได้แก่ ฐานกิจกรรมการปลูกป่า ฐานกิจกรรมการปลูกหญ้าแฝก ฐานกิจกรรมดำนา ฐานกิจกรรมปล่อยปลา ฐานกิจกรรมสร้างฝาย ฐานกิจกรรมขุดคลองไส้ไก่ และฐานกิจกรรมหัวคันนาทองคำ ซึ่งเป็นฐานการเรียนรู้ที่มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติร่วมกับคณะทำงานได้ออกแบบและเตรียมวัสดุในการดำเนินการ ทั้งนี้ในแต่ละฐานกิจกรรม มีวิทยากรนำประจำฐานกิจกรรมจากมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ คณาจารย์ และนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมร่วมให้ความรู้กับผู้เข้าร่วมดำเนินกิจกรรม
ผลผลิตที่ได้จากศูนย์การเรียนรู้ฯ
2. นโยบายการจัดหาอย่างมีจริยธรรม
นโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University)
มหาวิทยาลัยมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยฯ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มีการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เกิดการลดการใช้ทรัพยากรสิ้นเปลืองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน มหาวิทยาลัยจึงได้จัดทำนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University) เพื่อให้อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ร้านค้าผู้ประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมในมหาวิทยาลัย
นโยบายอนุรักษ์พลังงาน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้จัดทำประกาศ เรื่อง นโยบายอนุรักษ์พลังงาน เพื่อเป็นแนวทางการดำเนินงานด้านการจัดการพลังงาน และเพื่อให้ทุกคนในมหาวิทยาลัยเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการพลังงานในหน่วยงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
3. นโยบายการกำจัดของเสีย - วัสดุอันตราย
นโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University)
มหาวิทยาลัยมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยฯ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มีการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เกิดการลดการใช้ทรัพยากรสิ้นเปลืองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน มหาวิทยาลัยจึงได้จัดทำนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University) เพื่อให้อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ร้านค้าผู้ประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมในมหาวิทยาลัย
4. นโยบายการกำจัดของเสีย - วัสดุอันตราย
การบริหารจัดการการกำจัดของเสียภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมมีนโยบายในการจัดการของเสียที่มาจากกิจกรรมต่าง ๆ ที่ดำเนินการในห้องปฏิบัติการ รวมทั้งมีบริการจุดทิ้งขยะอันตรายทั่วทั้งมหาวิทยาลัย
5. นโยบายการกำจัดขยะ - นโยบายการฝังกลบ
นโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University)
มหาวิทยาลัยมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยฯ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มีการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เกิดการลดการใช้ทรัพยากรสิ้นเปลืองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน มหาวิทยาลัยจึงได้จัดทำนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University) เพื่อให้อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ร้านค้าผู้ประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมในมหาวิทยาลัย
6. นโยบายการกำจัดขยะ - นโยบายการฝังกลบ
ตัวชี้วัดย่อย 12.2.3 นโยบายการกำจัดขยะ - นโยบายการฝังกลบ
แผนงานและดำเนินการจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle)
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มีแผนงานจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle) โดยได้ดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องในการคัดแยกขยะแต่ละประเภท
ที่หน่วยงานได้จัดหาถังขยะ 4 สี ในการแยกแต่ละประเภทดังนี้
1. ถังขยะอินทรีย์ (ขยะเปียก) : สีเขียว
2. ถังขยะทั่วไป : สีน้ำเงิน
3. ถังขยะรีไซเคิล : สีเหลือง
4. ถังขยะอันตราย : สีแดง
ทั้งนี้ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ดำเนินการจัดวางถังขยะรวมของทุกชั้น ภายในอาคารทั้ง 2 อาคาร โดยแยกเป็นขยะอินทรีย์ (ขยะเปียก ซึ่งได้จัดหาถังขยะเฉพาะสำหรับการทิ้งก่อนการคัดแยก) ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล โดยฝ่ายบริหารฯ ได้มอบหมายให้พ่อบ้าน แม่บ้าน ดำเนินการคัดแยกขยะ โดยหน่วยงานได้จัดวางถังขยะแยกประเภททั้ง 4 ประเภทไว้ภายนอกอาคาร จำนวน 2 จุด และภายในอาคาร 1 จุด 3 ประเภท (ยกเว้นถังขยะอันตราย : สีแดง) ทั้งนี้ ได้จัดทำสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle)
ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ/กิจกรรม
ตัวชี้วัดคุณภาพ : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้ดำเนินการบันทึกปริมาณขยะประจำปี 2565
ในแต่ละประเภทขยะส่งจำหน่าย ขยะส่งจำกัด และขยะนำกลับมาใช้ใหม่
ตัวชี้วัดปริมาณ : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้ดำเนินการบันทึกปริมาณขยะประจำปี 2565 ในแต่ละประเภทขยะส่งกำจัด จำนวน 204.30 กก. ขยะส่งจำหน่าย จำนวน 957.10 กก.และขยะนำกลับมาใช้ใหม่ จำนวน 86.30 กก.
7. นโยบายการลดการใช้พลาสติก
ตัวชี้วัดย่อย 12.2.4 นโยบายการลดการใช้พลาสติก
มาตรการประหยัดพลังงาน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้จัดทำประกาศ เรื่อง มาตรการประหยัดพลังงาน เพื่อเป็นแนวทางการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน เช่น มาตรการประหยัดไฟฟ้า มาตรการประหยักน้ำมัน มาตรการลดค่าใช้โทรศัพท์ มาตรการลดค่าไปรษณีย์ มาตรการประหยักน้ำประปา
นโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University)
มหาวิทยาลัยมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยฯ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มีการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เกิดการลดการใช้ทรัพยากรสิ้นเปลืองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน มหาวิทยาลัยจึงได้จัดทำนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University) เพื่อให้อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ร้านค้าผู้ประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมในมหาวิทยาลัย
8. นโยบายการลดการใช้พลาสติก
กิจกรรมให้ยืมถุงผ้าใส่หนังสือกลับบ้าน
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมให้ยืมถุงผ้าใส่หนังสือกลับบ้าน เริ่มเดือนมกราคม 2565 เป็นต้นไป เพื่อส่งเสริมการอ่าน และเป็นการรณรงค์ลดการใช้ถุงพลาสติก โดยจัดให้บริการยืมกระเป๋าผ้าสำหรับผู้มาใช้บริการยืมหนังสือตั้งแต่ 3 เล่มขึ้นไป จะได้สิทธิ์ขอยืมกระเป๋าผ้าได้ที่เคาน์เตอร์บริการยืม-คืนหนังสือ รายละเอียดเพิ่มเติม
9. นโยบายการลดการใช้พลาสติก
กิจกรรมให้ยืมถุงผ้าใส่หนังสือกลับบ้าน
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมให้ยืมถุงผ้าใส่หนังสือกลับบ้าน เริ่มเดือนมกราคม 2565 เป็นต้นไป เพื่อส่งเสริมการอ่าน และเป็นการรณรงค์ลดการใช้ถุงพลาสติก โดยจัดให้บริการยืมกระเป๋าผ้าสำหรับผู้มาใช้บริการยืมหนังสือตั้งแต่ 3 เล่มขึ้นไป จะได้สิทธิ์ขอยืมกระเป๋าผ้าได้ที่เคาน์เตอร์บริการยืม-คืนหนังสือ รายละเอียดเพิ่มเติม
10. นโยบายการลดปริมาณสิ่งของที่ใช้แล้วทิ้ง
ตัวชี้วัดย่อย 12.2.5 นโยบายการลดปริมาณสิ่งของที่ใช้แล้วทิ้ง
มาตรการประหยัดพลังงาน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้จัดทำประกาศ เรื่อง มาตรการประหยัดพลังงาน เพื่อเป็นแนวทางการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน เช่น มาตรการประหยัดไฟฟ้า มาตรการประหยักน้ำมัน มาตรการลดค่าใช้โทรศัพท์ มาตรการลดค่าไปรษณีย์ มาตรการประหยักน้ำประปา
นโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University)
มหาวิทยาลัยมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยฯ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มีการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เกิดการลดการใช้ทรัพยากรสิ้นเปลืองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน มหาวิทยาลัยจึงได้จัดทำนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University) เพื่อให้อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ร้านค้าผู้ประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมในมหาวิทยาลัย
นโยบายอนุรักษ์พลังงาน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้จัดทำประกาศ เรื่อง นโยบายอนุรักษ์พลังงาน เพื่อเป็นแนวทางการดำเนินงานด้านการจัดการพลังงาน และเพื่อให้ทุกคนในมหาวิทยาลัยเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการพลังงานในหน่วยงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
11. การขยายนโยบายให้ครอบคลุมถึงบริการจากภายนอกและห่วงโซ่อุปทาน
ตัวชี้วัดย่อย 12.2.6 การขยายนโยบายให้ครอบคลุมถึงบริการจากภายนอกและห่วงโซ่อุปทาน
มาตรการประหยัดพลังงาน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้จัดทำประกาศ เรื่อง มาตรการประหยัดพลังงาน เพื่อเป็นแนวทางการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน เช่น มาตรการประหยัดไฟฟ้า มาตรการประหยักน้ำมัน มาตรการลดค่าใช้โทรศัพท์ มาตรการลดค่าไปรษณีย์ มาตรการประหยักน้ำประปา
นโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University)
มหาวิทยาลัยมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยฯ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มีการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เกิดการลดการใช้ทรัพยากรสิ้นเปลืองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน มหาวิทยาลัยจึงได้จัดทำนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University) เพื่อให้อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ร้านค้าผู้ประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมในมหาวิทยาลัย
นโยบายอนุรักษ์พลังงาน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้จัดทำประกาศ เรื่อง นโยบายอนุรักษ์พลังงาน เพื่อเป็นแนวทางการดำเนินงานด้านการจัดการพลังงาน และเพื่อให้ทุกคนในมหาวิทยาลัยเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการพลังงานในหน่วยงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
12. การขยายนโยบายให้ครอบคลุมซัพพลายเออร์ภายนอกและห่วงโซ่อุปทานทั้งหมด (ซัพพลายเออร์จำหน่วยอุปกรณ์เครื่องเขียน สัญญาก่อสร้าง)
ตัวชี้วัดย่อย 12.2.7 การขยายนโยบายให้ครอบคลุมซัพพลายเออร์ภายนอกและห่วงโซ่อุปทานทั้งหมด (ซัพพลายเออร์จำหน่วยอุปกรณ์เครื่องเขียน สัญญาก่อสร้าง)
มาตรการประหยัดพลังงาน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้จัดทำประกาศ เรื่อง มาตรการประหยัดพลังงาน เพื่อเป็นแนวทางการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน เช่น มาตรการประหยัดไฟฟ้า มาตรการประหยักน้ำมัน มาตรการลดค่าใช้โทรศัพท์ มาตรการลดค่าไปรษณีย์ มาตรการประหยักน้ำประปา
นโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University)
มหาวิทยาลัยมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยฯ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มีการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เกิดการลดการใช้ทรัพยากรสิ้นเปลืองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน มหาวิทยาลัยจึงได้จัดทำนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University) เพื่อให้อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ร้านค้าผู้ประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมในมหาวิทยาลัย
นโยบายอนุรักษ์พลังงาน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้จัดทำประกาศ เรื่อง นโยบายอนุรักษ์พลังงาน เพื่อเป็นแนวทางการดำเนินงานด้านการจัดการพลังงาน และเพื่อให้ทุกคนในมหาวิทยาลัยเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการพลังงานในหน่วยงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
13. นโยบายการกำจัดขยะ - นโยบายการฝังกลบ
ตัวชี้วัดย่อย 12.2.3 นโยบายการกำจัดขยะ - นโยบายการฝังกลบ
แผนงานและดำเนินการจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle)
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มีแผนงานจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle) โดยได้ดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องในการคัดแยกขยะแต่ละประเภท
ที่หน่วยงานได้จัดหาถังขยะ 4 สี ในการแยกแต่ละประเภทดังนี้
1. ถังขยะอินทรีย์ (ขยะเปียก) : สีเขียว
2. ถังขยะทั่วไป : สีน้ำเงิน
3. ถังขยะรีไซเคิล : สีเหลือง
4. ถังขยะอันตราย : สีแดง
ทั้งนี้ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ดำเนินการจัดวางถังขยะรวมของทุกชั้น ภายในอาคารทั้ง 2 อาคาร โดยแยกเป็นขยะอินทรีย์ (ขยะเปียก ซึ่งได้จัดหาถังขยะเฉพาะสำหรับการทิ้งก่อนการคัดแยก) ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล โดยฝ่ายบริหารฯ ได้มอบหมายให้พ่อบ้าน แม่บ้าน ดำเนินการคัดแยกขยะ โดยหน่วยงานได้จัดวางถังขยะแยกประเภททั้ง 4 ประเภทไว้ภายนอกอาคาร จำนวน 2 จุด และภายในอาคาร 1 จุด 3 ประเภท (ยกเว้นถังขยะอันตราย : สีแดง) ทั้งนี้ ได้จัดทำสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle)
ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ/กิจกรรม
ตัวชี้วัดคุณภาพ : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้ดำเนินการบันทึกปริมาณขยะประจำปี 2565
ในแต่ละประเภทขยะส่งจำหน่าย ขยะส่งจำกัด และขยะนำกลับมาใช้ใหม่
ตัวชี้วัดปริมาณ : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้ดำเนินการบันทึกปริมาณขยะประจำปี 2565 ในแต่ละประเภทขยะส่งกำจัด จำนวน 204.30 กก. ขยะส่งจำหน่าย จำนวน 957.10 กก.และขยะนำกลับมาใช้ใหม่ จำนวน 86.30 กก.
14. นโยบายการกำจัดขยะ - นโยบายการฝังกลบ
แนวปฏิบัติการกำจัดขยะภายในสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้จัดทำประกาศ แนวปฏิบัติการกำจัดขยะภายในสำนักฯ เพื่อเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี เอื้อต่อบรรยากาศการเรียนรู้ การรองรับห้องสมุดสีเขียว เพื่อเป็นแหล่งสนับสนุนการเรียนการสอน การค้นคว้าที่มีคุณภาพ
15. การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
มหาวิทยาลัยมีโนบายในการดำเนินงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ตามระเบียบว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ เพื่อกําหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ให้เหมาะสมสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และเพื่อให้การดำเนินงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างมีความยุติธรรม ถูกต้องตามระเบียบข้อบังต่างๆ ซึ่งมหาวิทยาลัยได้ปฏิบัติตามระเบียบอย่างเคร่งครัด เช่น ต้องมีผู้เสนอขายอย่างน้อย 3 ร้าน เพื่อเปรียบเทียบความคุ้มค่าและราคาที่เหมาะสม
16. การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมได้ให้ความสำคัญในเรื่องของคุณธรรม ความโปร่งใส และการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล อันประกอบไปด้วย หลักนิติธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า มหาวิทยาลัยจึงได้เข้ารับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมได้คะแนน 76.83 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน อยู่ในระดับ A
17. นโยบายการลดปริมาณสิ่งของที่ใช้แล้วทิ้ง
แผนงานและดำเนินการจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle)
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มีแผนงานจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle) โดยได้ดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องในการคัดแยกขยะแต่ละประเภท
ที่หน่วยงานได้จัดหาถังขยะ 4 สี ในการแยกแต่ละประเภทดังนี้
1. ถังขยะอินทรีย์ (ขยะเปียก) : สีเขียว
2. ถังขยะทั่วไป : สีน้ำเงิน
3. ถังขยะรีไซเคิล : สีเหลือง
4. ถังขยะอันตราย : สีแดง
ทั้งนี้ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ดำเนินการจัดวางถังขยะรวมของทุกชั้น ภายในอาคารทั้ง 2 อาคาร โดยแยกเป็นขยะอินทรีย์ (ขยะเปียก ซึ่งได้จัดหาถังขยะเฉพาะสำหรับการทิ้งก่อนการคัดแยก) ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล โดยฝ่ายบริหารฯ ได้มอบหมายให้พ่อบ้าน แม่บ้าน ดำเนินการคัดแยกขยะ โดยหน่วยงานได้จัดวางถังขยะแยกประเภททั้ง 4 ประเภทไว้ภายนอกอาคาร จำนวน 2 จุด และภายในอาคาร 1 จุด 3 ประเภท (ยกเว้นถังขยะอันตราย : สีแดง) ทั้งนี้ ได้จัดทำสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle)
ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ/กิจกรรม
ตัวชี้วัดคุณภาพ : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้ดำเนินการบันทึกปริมาณขยะประจำปี 2565
ในแต่ละประเภทขยะส่งจำหน่าย ขยะส่งจำกัด และขยะนำกลับมาใช้ใหม่
ตัวชี้วัดปริมาณ : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้ดำเนินการบันทึกปริมาณขยะประจำปี 2565 ในแต่ละประเภทขยะส่งกำจัด จำนวน 204.30 กก. ขยะส่งจำหน่าย จำนวน 957.10 กก.และขยะนำกลับมาใช้ใหม่ จำนวน 86.30 กก.
18. หลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย
หลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย
มหาวิทยาลัยได้จัดทำประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย เพื่อนำพัสดุที่ยังสามารถใช้งานได้บางส่วนมาดัดแปลง ยุบรวม หรือแยกชิ้นเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป นอกจากนั้นมหาวิทยาลัยยังมีการขายพัสดุที่ยังสามารถใช้งานได้ โดยวิธีทอดตลาด เพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย
19. หลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย
หลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย
มหาวิทยาลัยได้จัดทำประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย เพื่อนำพัสดุที่ยังสามารถใช้งานได้บางส่วนมาดัดแปลง ยุบรวม หรือแยกชิ้นเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป นอกจากนั้นมหาวิทยาลัยยังมีการขายพัสดุที่ยังสามารถใช้งานได้ โดยวิธีทอดตลาด เพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย
20. มาตรการประหยัดพลังงาน
มาตรการประหยัดพลังงาน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้จัดทำประกาศ เรื่อง มาตรการประหยัดพลังงาน เพื่อเป็นแนวทางการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน เช่น มาตรการประหยัดไฟฟ้า มาตรการประหยัดน้ำมัน มาตรการลดค่าใช้โทรศัพท์ มาตรการลดค่าไปรษณีย์ มาตรการประหยัดน้ำประปา การลดใช้พลาสติก
21. หลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย
หลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย
มหาวิทยาลัยได้จัดทำประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย เพื่อนำพัสดุที่ยังสามารถใช้งานได้บางส่วนมาดัดแปลง ยุบรวม หรือแยกชิ้นเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป นอกจากนั้นมหาวิทยาลัยยังมีการขายพัสดุที่ยังสามารถใช้งานได้ โดยวิธีทอดตลาด เพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
ประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย