ผลการดำเนินงาน ปี 2023
SDG12 : Responsible Consumption and Production

1. นโยบายการจัดหาอย่างมีจริยธรรม

ตัวชี้วัดที่ 12.2 มาตรการการดำเนินงาน
ตัวชี้วัดย่อย 12.2.1 นโยบายการจัดหาอย่างมีจริยธรรม


1. ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง  
ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ทรงมีพระราชปณิธานตามพระปฐมบรมราชโองการในการ “สืบสาน รักษา ต่อยอด” งานต่อจากพระราชบิดา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม มุ่งผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติรองรับการพัฒนาประเทศและเป็นพลังปัญญาของท้องถิ่น 
เร่งดำเนินการตามพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว  มหาวิทยาลัยฯ จึงได้ร่วมกับนักเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 28 และมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ออกแบบและปรับปรุงพื้นที่ของมหาวิทยาลัยฯ โดยจำลองแนวคิด โคก หนอง นา โมเดล ภายในพื้นที่กว่า 16 ไร่  ในระยะที่ 1 ให้เป็นศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสวันคล้ายวันเฉลิมพระชนมพรรษา 28 กรกฎาคม 2562 โดยศูนย์การเรียนรู้ฯ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และฝึกศาสตร์พระราชาโดยน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ตามภูมิสังคมของภาคตะวันตก ให้กับนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป และเป็นแหล่งรวบรวมองค์ความรู้และอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นตามแนวทางพุทธกสิกรรมธรรมชาติ ให้นำไปปรับใช้เป็นพื้นฐานและเป็นแนวทางในการดำรงชีวิตที่มั่นคงต่อไป
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงสร้างขึ้นบนพื้นที่บริเวณศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเกษตรชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ณ ตำบลหนองปากโลง อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ซึ่งเดิมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมมีพื้นที่เดิมอยู่ 17 ไร่ 1 งาน 24 ตารางวา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 และซื้อพื้นที่ติดกันเพิ่มเติมจากเกษตรกรไร่อ้อย ซึ่งมีความประสงค์ในการขายพื้นที่ให้กับมหาวิทยาลัย เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ด้านการศึกษา โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมได้ซื้อไว้เมื่อ 14 ธันวาคม 2559 อีก 29 ไร่ 56 ตารางวา รวมเนื้อที่ทั้งหมด 46 ไร่ 1 งาน 80 ตารางวา ขณะนั้น มีแผนงานจะปรับให้เป็นพื้นที่การเรียนรู้และฝึกปฏิบัติการทางด้านการเกษตรและการวิจัย ห่างจากที่ตั้งของมหาวิทยาลัยฯ ประมาณ 3 กิโลเมตร

ได้จัดพิธีเปิดศูนย์การเรียนรู้ฯ ในวันที่ 25 กรกฎาคม 2562 โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจากทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐและเอกชนในพื้นที่จังหวัดนครปฐม ได้แก่ นักเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 28 มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ จิตอาสา 904 วปร. ผู้บริหาร คณาจารย์ นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม นักเรียนจากโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม และโรงเรียนในพื้นที่ ทหาร ชาวบ้าน และประชาชนจิตอาสา รวมประมาณ 1,700 คน ร่วมบำเพ็ญประโยชน์ โดยได้จัดกิจกรรมฐานการเรียนรู้จำนวน 7 ฐาน ให้กับผู้ที่เข้าร่วมทำกิจกรรม ได้แก่ ฐานกิจกรรมการปลูกป่า ฐานกิจกรรมการปลูกหญ้าแฝก ฐานกิจกรรมดำนา ฐานกิจกรรมปล่อยปลา ฐานกิจกรรมสร้างฝาย ฐานกิจกรรมขุดคลองไส้ไก่ และฐานกิจกรรมหัวคันนาทองคำ ซึ่งเป็นฐานการเรียนรู้ที่มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติร่วมกับคณะทำงานได้ออกแบบและเตรียมวัสดุในการดำเนินการ ทั้งนี้ในแต่ละฐานกิจกรรม มีวิทยากรนำประจำฐานกิจกรรมจากมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ คณาจารย์ และนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมร่วมให้ความรู้กับผู้เข้าร่วมดำเนินกิจกรรม

ผลผลิตที่ได้จากศูนย์การเรียนรู้ฯ

2. นโยบายการจัดหาอย่างมีจริยธรรม

นโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University)

          มหาวิทยาลัยมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยฯ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มีการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เกิดการลดการใช้ทรัพยากรสิ้นเปลืองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน มหาวิทยาลัยจึงได้จัดทำนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University) เพื่อให้อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ร้านค้าผู้ประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมในมหาวิทยาลัย

 

นโยบายอนุรักษ์พลังงาน

          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้จัดทำประกาศ เรื่อง นโยบายอนุรักษ์พลังงาน  เพื่อเป็นแนวทางการดำเนินงานด้านการจัดการพลังงาน และเพื่อให้ทุกคนในมหาวิทยาลัยเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการพลังงานในหน่วยงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

3. นโยบายการกำจัดของเสีย - วัสดุอันตราย

นโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University)

          มหาวิทยาลัยมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยฯ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มีการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เกิดการลดการใช้ทรัพยากรสิ้นเปลืองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน มหาวิทยาลัยจึงได้จัดทำนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University) เพื่อให้อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ร้านค้าผู้ประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมในมหาวิทยาลัย

4. นโยบายการกำจัดของเสีย - วัสดุอันตราย

การบริหารจัดการการกำจัดของเสียภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมมีนโยบายในการจัดการของเสียที่มาจากกิจกรรมต่าง ๆ ที่ดำเนินการในห้องปฏิบัติการ รวมทั้งมีบริการจุดทิ้งขยะอันตรายทั่วทั้งมหาวิทยาลัย

5. นโยบายการกำจัดขยะ - นโยบายการฝังกลบ

นโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University)

          มหาวิทยาลัยมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยฯ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มีการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เกิดการลดการใช้ทรัพยากรสิ้นเปลืองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน มหาวิทยาลัยจึงได้จัดทำนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University) เพื่อให้อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ร้านค้าผู้ประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมในมหาวิทยาลัย

6. นโยบายการกำจัดขยะ - นโยบายการฝังกลบ

ตัวชี้วัดย่อย 12.2.3 นโยบายการกำจัดขยะ - นโยบายการฝังกลบ

แผนงานและดำเนินการจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle)

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มีแผนงานจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle) โดยได้ดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องในการคัดแยกขยะแต่ละประเภท

ที่หน่วยงานได้จัดหาถังขยะ 4 สี ในการแยกแต่ละประเภทดังนี้

     1. ถังขยะอินทรีย์ (ขยะเปียก) : สีเขียว 

     2. ถังขยะทั่วไป : สีน้ำเงิน

     3. ถังขยะรีไซเคิล : สีเหลือง

     4. ถังขยะอันตราย : สีแดง

ทั้งนี้ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ดำเนินการจัดวางถังขยะรวมของทุกชั้น ภายในอาคารทั้ง 2 อาคาร โดยแยกเป็นขยะอินทรีย์ (ขยะเปียก ซึ่งได้จัดหาถังขยะเฉพาะสำหรับการทิ้งก่อนการคัดแยก) ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล โดยฝ่ายบริหารฯ ได้มอบหมายให้พ่อบ้าน แม่บ้าน ดำเนินการคัดแยกขยะ โดยหน่วยงานได้จัดวางถังขยะแยกประเภททั้ง 4 ประเภทไว้ภายนอกอาคาร จำนวน 2 จุด และภายในอาคาร 1 จุด 3 ประเภท (ยกเว้นถังขยะอันตราย : สีแดง) ทั้งนี้ ได้จัดทำสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle) 

ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดคุณภาพ : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้ดำเนินการบันทึกปริมาณขยะประจำปี 2565

ในแต่ละประเภทขยะส่งจำหน่าย ขยะส่งจำกัด และขยะนำกลับมาใช้ใหม่

ตัวชี้วัดปริมาณ : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้ดำเนินการบันทึกปริมาณขยะประจำปี 2565 ในแต่ละประเภทขยะส่งกำจัด จำนวน 204.30 กก. ขยะส่งจำหน่าย จำนวน 957.10 กก.และขยะนำกลับมาใช้ใหม่ จำนวน 86.30 กก.

รายละเอียดเพิ่มเติม

7. นโยบายการลดการใช้พลาสติก

ตัวชี้วัดย่อย 12.2.4 นโยบายการลดการใช้พลาสติก

มาตรการประหยัดพลังงาน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้จัดทำประกาศ เรื่อง มาตรการประหยัดพลังงาน  เพื่อเป็นแนวทางการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน  เช่น มาตรการประหยัดไฟฟ้า มาตรการประหยักน้ำมัน มาตรการลดค่าใช้โทรศัพท์ มาตรการลดค่าไปรษณีย์ มาตรการประหยักน้ำประปา 

 

นโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University)

มหาวิทยาลัยมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยฯ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มีการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เกิดการลดการใช้ทรัพยากรสิ้นเปลืองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน มหาวิทยาลัยจึงได้จัดทำนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University) เพื่อให้อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ร้านค้าผู้ประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมในมหาวิทยาลัย

8. นโยบายการลดการใช้พลาสติก

กิจกรรมให้ยืมถุงผ้าใส่หนังสือกลับบ้าน

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมให้ยืมถุงผ้าใส่หนังสือกลับบ้าน เริ่มเดือนมกราคม 2565 เป็นต้นไป เพื่อส่งเสริมการอ่าน และเป็นการรณรงค์ลดการใช้ถุงพลาสติก โดยจัดให้บริการยืมกระเป๋าผ้าสำหรับผู้มาใช้บริการยืมหนังสือตั้งแต่ 3 เล่มขึ้นไป จะได้สิทธิ์ขอยืมกระเป๋าผ้าได้ที่เคาน์เตอร์บริการยืม-คืนหนังสือ รายละเอียดเพิ่มเติม

9. นโยบายการลดการใช้พลาสติก

กิจกรรมให้ยืมถุงผ้าใส่หนังสือกลับบ้าน

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมให้ยืมถุงผ้าใส่หนังสือกลับบ้าน เริ่มเดือนมกราคม 2565 เป็นต้นไป เพื่อส่งเสริมการอ่าน และเป็นการรณรงค์ลดการใช้ถุงพลาสติก โดยจัดให้บริการยืมกระเป๋าผ้าสำหรับผู้มาใช้บริการยืมหนังสือตั้งแต่ 3 เล่มขึ้นไป จะได้สิทธิ์ขอยืมกระเป๋าผ้าได้ที่เคาน์เตอร์บริการยืม-คืนหนังสือ รายละเอียดเพิ่มเติม

10. นโยบายการลดปริมาณสิ่งของที่ใช้แล้วทิ้ง

ตัวชี้วัดย่อย 12.2.5 นโยบายการลดปริมาณสิ่งของที่ใช้แล้วทิ้ง

มาตรการประหยัดพลังงาน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้จัดทำประกาศ เรื่อง มาตรการประหยัดพลังงาน  เพื่อเป็นแนวทางการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน  เช่น มาตรการประหยัดไฟฟ้า มาตรการประหยักน้ำมัน มาตรการลดค่าใช้โทรศัพท์ มาตรการลดค่าไปรษณีย์ มาตรการประหยักน้ำประปา 

 

นโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University)

มหาวิทยาลัยมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยฯ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มีการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เกิดการลดการใช้ทรัพยากรสิ้นเปลืองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน มหาวิทยาลัยจึงได้จัดทำนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University) เพื่อให้อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ร้านค้าผู้ประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมในมหาวิทยาลัย

 

นโยบายอนุรักษ์พลังงาน

          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้จัดทำประกาศ เรื่อง นโยบายอนุรักษ์พลังงาน  เพื่อเป็นแนวทางการดำเนินงานด้านการจัดการพลังงาน และเพื่อให้ทุกคนในมหาวิทยาลัยเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการพลังงานในหน่วยงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

11. การขยายนโยบายให้ครอบคลุมถึงบริการจากภายนอกและห่วงโซ่อุปทาน

ตัวชี้วัดย่อย 12.2.6 การขยายนโยบายให้ครอบคลุมถึงบริการจากภายนอกและห่วงโซ่อุปทาน

มาตรการประหยัดพลังงาน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้จัดทำประกาศ เรื่อง มาตรการประหยัดพลังงาน  เพื่อเป็นแนวทางการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน  เช่น มาตรการประหยัดไฟฟ้า มาตรการประหยักน้ำมัน มาตรการลดค่าใช้โทรศัพท์ มาตรการลดค่าไปรษณีย์ มาตรการประหยักน้ำประปา 

 

นโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University)

มหาวิทยาลัยมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยฯ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มีการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เกิดการลดการใช้ทรัพยากรสิ้นเปลืองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน มหาวิทยาลัยจึงได้จัดทำนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University) เพื่อให้อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ร้านค้าผู้ประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมในมหาวิทยาลัย

 

นโยบายอนุรักษ์พลังงาน

          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้จัดทำประกาศ เรื่อง นโยบายอนุรักษ์พลังงาน  เพื่อเป็นแนวทางการดำเนินงานด้านการจัดการพลังงาน และเพื่อให้ทุกคนในมหาวิทยาลัยเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการพลังงานในหน่วยงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

12. การขยายนโยบายให้ครอบคลุมซัพพลายเออร์ภายนอกและห่วงโซ่อุปทานทั้งหมด (ซัพพลายเออร์จำหน่วยอุปกรณ์เครื่องเขียน สัญญาก่อสร้าง)

ตัวชี้วัดย่อย 12.2.7 การขยายนโยบายให้ครอบคลุมซัพพลายเออร์ภายนอกและห่วงโซ่อุปทานทั้งหมด (ซัพพลายเออร์จำหน่วยอุปกรณ์เครื่องเขียน สัญญาก่อสร้าง)

มาตรการประหยัดพลังงาน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้จัดทำประกาศ เรื่อง มาตรการประหยัดพลังงาน  เพื่อเป็นแนวทางการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน  เช่น มาตรการประหยัดไฟฟ้า มาตรการประหยักน้ำมัน มาตรการลดค่าใช้โทรศัพท์ มาตรการลดค่าไปรษณีย์ มาตรการประหยักน้ำประปา 

 

นโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University)

มหาวิทยาลัยมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยฯ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มีการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เกิดการลดการใช้ทรัพยากรสิ้นเปลืองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน มหาวิทยาลัยจึงได้จัดทำนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (NPRU Green University) เพื่อให้อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ร้านค้าผู้ประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมในมหาวิทยาลัย

 

นโยบายอนุรักษ์พลังงาน

          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้จัดทำประกาศ เรื่อง นโยบายอนุรักษ์พลังงาน  เพื่อเป็นแนวทางการดำเนินงานด้านการจัดการพลังงาน และเพื่อให้ทุกคนในมหาวิทยาลัยเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการพลังงานในหน่วยงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

13. นโยบายการกำจัดขยะ - นโยบายการฝังกลบ

ตัวชี้วัดย่อย 12.2.3 นโยบายการกำจัดขยะ - นโยบายการฝังกลบ

แผนงานและดำเนินการจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle)

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มีแผนงานจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle) โดยได้ดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องในการคัดแยกขยะแต่ละประเภท

ที่หน่วยงานได้จัดหาถังขยะ 4 สี ในการแยกแต่ละประเภทดังนี้

     1. ถังขยะอินทรีย์ (ขยะเปียก) : สีเขียว 

     2. ถังขยะทั่วไป : สีน้ำเงิน

     3. ถังขยะรีไซเคิล : สีเหลือง

     4. ถังขยะอันตราย : สีแดง

ทั้งนี้ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ดำเนินการจัดวางถังขยะรวมของทุกชั้น ภายในอาคารทั้ง 2 อาคาร โดยแยกเป็นขยะอินทรีย์ (ขยะเปียก ซึ่งได้จัดหาถังขยะเฉพาะสำหรับการทิ้งก่อนการคัดแยก) ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล โดยฝ่ายบริหารฯ ได้มอบหมายให้พ่อบ้าน แม่บ้าน ดำเนินการคัดแยกขยะ โดยหน่วยงานได้จัดวางถังขยะแยกประเภททั้ง 4 ประเภทไว้ภายนอกอาคาร จำนวน 2 จุด และภายในอาคาร 1 จุด 3 ประเภท (ยกเว้นถังขยะอันตราย : สีแดง) ทั้งนี้ ได้จัดทำสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle) 

ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดคุณภาพ : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้ดำเนินการบันทึกปริมาณขยะประจำปี 2565

ในแต่ละประเภทขยะส่งจำหน่าย ขยะส่งจำกัด และขยะนำกลับมาใช้ใหม่

ตัวชี้วัดปริมาณ : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้ดำเนินการบันทึกปริมาณขยะประจำปี 2565 ในแต่ละประเภทขยะส่งกำจัด จำนวน 204.30 กก. ขยะส่งจำหน่าย จำนวน 957.10 กก.และขยะนำกลับมาใช้ใหม่ จำนวน 86.30 กก.

รายละเอียดเพิ่มเติม

14. นโยบายการกำจัดขยะ - นโยบายการฝังกลบ

แนวปฏิบัติการกำจัดขยะภายในสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้จัดทำประกาศ แนวปฏิบัติการกำจัดขยะภายในสำนักฯ เพื่อเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี เอื้อต่อบรรยากาศการเรียนรู้ การรองรับห้องสมุดสีเขียว เพื่อเป็นแหล่งสนับสนุนการเรียนการสอน การค้นคว้าที่มีคุณภาพ

15. สัดส่วนขยะรีไซเคิล

  ตัวชี้วัดย่อย 12.3.2 สัดส่วนขยะรีไซเคิล
        - ปริมาณขยะที่สร้างขึ้น
        - ปริมาณขยะรีไซเคิล
        - จำนวนขยะที่ส่งไปฝังกลบ

16. การติดตามของเสีย

ตัวชี้วัดที่ 12.3 สัดส่วนขยะรีไซเคิล

        ตัวชี้วัดย่อย 12.3.1 การติดตามของเสีย วัดปริมาณขยะที่เกิดขึ้นและรีไซเคิลทั่วทั้งมหาวิทยาลัย

17. การเผยแพร่รายงานความยั่งยืน

ตัวชี้วัดที่ 12.4 การเผยแพร่รายงานความยั่งยืน

        ตัวชี้วัดย่อย 12.4.1 รายงานความยั่งยืน

          มหาวิทยาลัยเผยแพร่รายงานความยั่งยืนของมหาวิทยาลัย  โดยจัดทำเป็นรายงาน SDGs ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

รายละเอียดเพิ่มเติม

18. แผนงานและดำเนินการจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle)

แผนงานและดำเนินการจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle)

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มีแผนงานจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle) โดยได้ดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องในการคัดแยกขยะแต่ละประเภท

ที่หน่วยงานได้จัดหาถังขยะ 4 สี ในการแยกแต่ละประเภทดังนี้

     1. ถังขยะอินทรีย์ (ขยะเปียก) : สีเขียว 

     2. ถังขยะทั่วไป : สีน้ำเงิน

     3. ถังขยะรีไซเคิล : สีเหลือง

     4. ถังขยะอันตราย : สีแดง

ทั้งนี้ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ดำเนินการจัดวางถังขยะรวมของทุกชั้น ภายในอาคารทั้ง 2 อาคาร โดยแยกเป็นขยะอินทรีย์ (ขยะเปียก ซึ่งได้จัดหาถังขยะเฉพาะสำหรับการทิ้งก่อนการคัดแยก) ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล โดยฝ่ายบริหารฯ ได้มอบหมายให้พ่อบ้าน แม่บ้าน ดำเนินการคัดแยกขยะ โดยหน่วยงานได้จัดวางถังขยะแยกประเภททั้ง 4 ประเภทไว้ภายนอกอาคาร จำนวน 2 จุด และภายในอาคาร 1 จุด 3 ประเภท (ยกเว้นถังขยะอันตราย : สีแดง) ทั้งนี้ ได้จัดทำสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle) 

ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดคุณภาพ : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้ดำเนินการบันทึกปริมาณขยะประจำปี 2565

ในแต่ละประเภทขยะส่งจำหน่าย ขยะส่งจำกัด และขยะนำกลับมาใช้ใหม่

ตัวชี้วัดปริมาณ : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้ดำเนินการบันทึกปริมาณขยะประจำปี 2565 ในแต่ละประเภทขยะส่งกำจัด จำนวน 204.30 กก. ขยะส่งจำหน่าย จำนวน 957.10 กก.และขยะนำกลับมาใช้ใหม่ จำนวน 86.30 กก.

รายละเอียดเพิ่มเติม

19. การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ

การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ

                          มหาวิทยาลัยมีโนบายในการดำเนินงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ตามระเบียบว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ เพื่อกําหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ให้เหมาะสมสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และเพื่อให้การดำเนินงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างมีความยุติธรรม ถูกต้องตามระเบียบข้อบังต่างๆ ซึ่งมหาวิทยาลัยได้ปฏิบัติตามระเบียบอย่างเคร่งครัด เช่น ต้องมีผู้เสนอขายอย่างน้อย 3 ร้าน เพื่อเปรียบเทียบความคุ้มค่าและราคาที่เหมาะสม

รายละเอียดเพิ่มเติม

20. การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมได้ให้ความสำคัญในเรื่องของคุณธรรม ความโปร่งใส และการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล อันประกอบไปด้วย หลักนิติธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า มหาวิทยาลัยจึงได้เข้ารับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมได้คะแนน 76.83 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน อยู่ในระดับ A

21. นโยบายการลดปริมาณสิ่งของที่ใช้แล้วทิ้ง

แผนงานและดำเนินการจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle)

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มีแผนงานจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle) โดยได้ดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องในการคัดแยกขยะแต่ละประเภท

ที่หน่วยงานได้จัดหาถังขยะ 4 สี ในการแยกแต่ละประเภทดังนี้

     1. ถังขยะอินทรีย์ (ขยะเปียก) : สีเขียว 

     2. ถังขยะทั่วไป : สีน้ำเงิน

     3. ถังขยะรีไซเคิล : สีเหลือง

     4. ถังขยะอันตราย : สีแดง

ทั้งนี้ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ดำเนินการจัดวางถังขยะรวมของทุกชั้น ภายในอาคารทั้ง 2 อาคาร โดยแยกเป็นขยะอินทรีย์ (ขยะเปียก ซึ่งได้จัดหาถังขยะเฉพาะสำหรับการทิ้งก่อนการคัดแยก) ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล โดยฝ่ายบริหารฯ ได้มอบหมายให้พ่อบ้าน แม่บ้าน ดำเนินการคัดแยกขยะ โดยหน่วยงานได้จัดวางถังขยะแยกประเภททั้ง 4 ประเภทไว้ภายนอกอาคาร จำนวน 2 จุด และภายในอาคาร 1 จุด 3 ประเภท (ยกเว้นถังขยะอันตราย : สีแดง) ทั้งนี้ ได้จัดทำสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานจัดการขยะอย่างเหมาะสม ลดปริมาณขยะ (reduce) การใช้ซ้ำ (reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle) 

ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดคุณภาพ : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้ดำเนินการบันทึกปริมาณขยะประจำปี 2565

ในแต่ละประเภทขยะส่งจำหน่าย ขยะส่งจำกัด และขยะนำกลับมาใช้ใหม่

ตัวชี้วัดปริมาณ : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้ดำเนินการบันทึกปริมาณขยะประจำปี 2565 ในแต่ละประเภทขยะส่งกำจัด จำนวน 204.30 กก. ขยะส่งจำหน่าย จำนวน 957.10 กก.และขยะนำกลับมาใช้ใหม่ จำนวน 86.30 กก.

รายละเอียดเพิ่มเติม

22. หลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย

หลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย

มหาวิทยาลัยได้จัดทำประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย  เพื่อนำพัสดุที่ยังสามารถใช้งานได้บางส่วนมาดัดแปลง ยุบรวม หรือแยกชิ้นเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป  นอกจากนั้นมหาวิทยาลัยยังมีการขายพัสดุที่ยังสามารถใช้งานได้ โดยวิธีทอดตลาด เพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า

ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย

 

23. หลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย

หลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย

มหาวิทยาลัยได้จัดทำประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย  เพื่อนำพัสดุที่ยังสามารถใช้งานได้บางส่วนมาดัดแปลง ยุบรวม หรือแยกชิ้นเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป  นอกจากนั้นมหาวิทยาลัยยังมีการขายพัสดุที่ยังสามารถใช้งานได้ โดยวิธีทอดตลาด เพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า

ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย

24. มาตรการประหยัดพลังงาน

มาตรการประหยัดพลังงาน

          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้จัดทำประกาศ เรื่อง มาตรการประหยัดพลังงาน  เพื่อเป็นแนวทางการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน  เช่น มาตรการประหยัดไฟฟ้า มาตรการประหยัดน้ำมัน มาตรการลดค่าใช้โทรศัพท์ มาตรการลดค่าไปรษณีย์ มาตรการประหยัดน้ำประปา การลดใช้พลาสติก

25. หลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย

หลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย 

มหาวิทยาลัยได้จัดทำประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย  เพื่อนำพัสดุที่ยังสามารถใช้งานได้บางส่วนมาดัดแปลง ยุบรวม หรือแยกชิ้นเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป  นอกจากนั้นมหาวิทยาลัยยังมีการขายพัสดุที่ยังสามารถใช้งานได้ โดยวิธีทอดตลาด เพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า

 

ประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีแปรสภาพหรือทำลาย